News

Type-2 low asthma

หลักการรักษา Type-2 low asthma ในผู้ใหญ่ด้วยยา อ.พญ.ณัฐวรรณ สงวนวงษ์ Type-2 low asthma เป็นกลุ่ม phenotype หนึ่งของโรคหืด ลักษณะที่พบได้ เช่น non-allergic, non-eosinophilic inflammation (โดยพบ neutrophilic airway inflammation ได้บ่อย) โดยการตอบสนองต่อ steroid จะไม่ดีเมื่อเทียบกับกลุ่ม type-2 high asthmaการรักษาด้วยยา(1-5) #Corticosteroids ยาสูดพ่นคอร์ติโคสเตียรอยด์ (ICS) เป็นยาหลักในการควบคุมอาการหืด โดยช่วยลดการอักเสบของหลอดลม แต่อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพในการรักษาน้อยกว่ากลุ่ม type-2 high asthma #Macrolides การให้ low-dose azithromycin (3 ครั้งต่อสัปดาห์) ระยะยาว ในโรคหืดที่ไม่สามารถควบคุมได้ด้วย medium หรือ high-dose ICS-LABA...

Immunotherapy in AR and Asthma: Who is the candidate?

Immunotherapy in AR and Asthma: Who is the candidate?นายแพทย์จิรวัฒน์ เชี่ยวเฉลิมศรีอายุรแพทย์โรคภูมิแพ้ และภูมิคุ้มกันทางคลินิกการรักษาด้วยวิธี #วัคซีนภูมิแพ้ (Immunotherapy) ในผู้ป่วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ (Allergic Rhinitis) และโรคหืด (Asthma) แพ้ เป็นวิธีการรักษาที่มีมานานกว่า 110 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1910 และเป็นการรักษาเดียวที่ที่เปลี่ยนแปลงการดำเนินโรคเนื่องจากเป็นการรักษาที่ต้นเหตุของโรคที่ผู้ป่วยแพ้สารก่อภูมิแพ้ที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว โดยนิยามล่าสุดที่สมาคมโรคภูมิแพ้ยุโรปได้ให้ไว้คือ "การที่ให้สารก่อภูมิแพ้ที่ผู้ป่วยแพ้ซ้ำๆ ในช่วงระยะความห่างที่เหมาะสม ที่ส่งผลให้มีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเพื่อลดอาการ ลดการใช้ยาและป้องกันการเกิดการแพ้ชนิดใหม่ๆ ในผู้ป่วย #ภูมิแพ้โพรงจมูก และ #โรคหืด"กลไกที่อธิบายการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการรักษามีดังนี้ (1,2)1). ส่งผลต่อเซลล์ mast cell และ Basophil ในการลดการหลั่งสารแพ้2). ลดการทำงานของ FcεRI ในการกระตุ้นการหลั่งสารแพ้3). เพิ่มการสร้างของ Regulatory T cell ,...

Medication in asthma exacerbation

ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะหืดกำเริบเฉียบพลัน (Medication in asthma exacerbation)รศ.ดร.นพ. กัมพล กรธัชพงศ์ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ.เป้าหมายหลักในรักษาภาวะหืดกำเริบเฉียบพลันคือการฟื้นฟูการไหลของอากาศอย่างรวดเร็วและแก้ไขปัญหาการมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือดมากเกินไปหรือการขาดออกซิเจน โดยการรักษาภาวะหืดกำเริบเฉียบพลันควรทำโดยเร็วและมีการประเมินอาการอย่างต่อเนื่อง ยาที่ใช้ในการรักษาจะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของภาวะหืดกำเริบ ซึ่งประกอบไปด้วย. Oxygenควรให้ออกซิเจนเสริมแก่ผู้ป่วยทุกรายที่มีภาวะขาดออกซิเจน โดยมีเป้าหมายให้ระดับ SpO2 สูงกว่า 92 เปอร์เซ็นต์ในผู้ใหญ่ ด้วยการใช้ nasal cannula หรือ mask Bronchodilatorsเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเปิดทางเดินหายใจและบรรเทาอาการ แนะนำให้ใช้ Short-Acting Beta-2 Agonist (SABA) ร่วมกับ Short-Acting Muscarinic Antagonist (SAMA) พ่นฝอยละออง ทุก 20 นาที ติดต่อกันในชั่วโมงแรกของการรักษา CorticosteroidsSystemic Corticosteroids ช่วยลดการอักเสบของทางเดินหายใจ สามารถบริหารยาทั้งในรูปแบบยากินหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ขนาดยาที่แนะนำ Prednisone ขนาด 1mg/kg/day, dexamethasone 4-6 mg q...